หลังเทศกาลวันออกพรรษาเมื่อปลายฝนต้นหนาวเป็นสัญญาณบอกว่า เทศกาลยี่เป็งได้เข้ามาเยือน ชาวล้านนาต่างพากันเตรียมเครื่องใช้ไม้สอย และเครื่องไททานเพื่อไปทำบุญที่วัด เพราะในช่วงเวลานี้ถือว่าเป็น วันเพ็ญ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน ยี่ (เหนือ) หรือ เดือน 12 ผู้เฒ่า ผู้แก่จะถือโอกาส ไปนอนค้างแรมที่วัดเพื่อฟังธรรมอันเป็นธรรมเนียมปฏิบัติของคนล้านนา โคมไฟกับงานประเพณียี่เป็ง ถือได้ว่าเป็นของคู่กัน แต่ก่อนชาวล้านนามีโคมไฟใช้
ไม่แพร่หลาย
จุดประสงค์ของการใช้สอยของโคมไฟโบราณทำขึ้นเพื่อใช้เป็นตะเกียงหรือสิ่งประดิษฐ์สำหรับจุดไฟให้สว่าง แต่ด้วยเหตุผลที่น้ำมันมีราคาแพงประเพณีการจุดโคมไฟแต่เดิม
จึงมักมีเฉพาะในพระราชสำนักและบ้านเรือน ของเจ้านายใหญ่โต เท่าที่ผ่านมาชาว
ล้านนาใช้โคมไฟในฐานะของเครื่องใช้ในครัวเรือนและเครื่องใช้ในพิธีกรรมเท่านั้น
L’histoire
Pour la célébration de ls fête' OK Pansa' : la fin du carême bouddhiques a lieu la nuit de la pleine lune du
onzième mois lunaire.(en octobre) Lors du festival Yee Peng ou Loy Kratong en
région Lanna, on offre la nourriture aux bronzes et on prie au temple en apportant des cierges et des fleurs. Les habitants de Lanna ( Région du
Nord) ne s’éclairaient pas beaucoup de lampe à huile car c’était très cher.
sauf les gens au Palais et les riches.
ตำนาน โคม เป็นชื่อของเมืองโบราณในเชียงราย ชื่อว่า "สุวรรณโคมคำ" โคม ใช้เป็นเครื่องสักการะและ ใช้ส่องแสงสว่างอันเก่าแก่ของคนในภาคต่าง ๆ ใช้กันทั่วทุกภาค แต่สำเนียงจะแตกต่างกันไป ภาคเหนือจะเรียกว่า "โกม"
La légends
Le “Khoom” vient de la cité
antique de Chiang Rai “Suwan na khoom kham” C’est
le symbole de la lumière. En fait
le khoom est un éclairage utilisé dans
De nombreuse régions, et surtout dans le nord de la Thaïlande